Sunday, December 03, 2023
ปัญหาและวิธีการแกไข้ พัฒนาการเด็ก สุขภาพ เรื่องน่ารู้

จิตเวชเด็ก 3 ข้อสังเกตของลูกที่คุณแม่ควรพาไปพบเพื่อรับคำแนะนำ

ในปัจจุบันการดูแลเอาใจใส่รวมถึงการให้ความรักความเมตตาจากพ่อแม่และครอบครัวถือเป็นสิ่งสำคัญเป็นอย่างมาก เช่นเดียวกันกับการสังเกตพฤติกรรมของลูกด้านอารมณ์ ควรพาลูกไปพบ จิตเวชเด็ก หากลูกของคุณมีอาการเหล่านี้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงความผิดปกติไม่ว่าจะเป็นในด้านของอารมณ์หรือพัฒนาการของเด็ก ซึ่งหากปล่อยไว้ก็อาจจะเกิดความรุนแรงในอนาคตก็เป็นได้ ดังนั้น หากพ่อคุณแม่ครอบครัวไหนที่กำลังพบกับปัญหาเหล่านี้ในเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 7-15 ปี คุณสามารถเข้ามาตรวจสอบว่าลูกของคุณมีอาการเหล่านี้หรือไม่ และหากเกิดขึ้นจริงคุณควรจะทำอย่างไรต่อไป มาติดตามรับชม 3 ข้อสังเกตหลักๆเกี่ยวกับสัญญาณเตือนไปพร้อมๆกันเลยค่ะ เช็คด่วน ! หากลูกมีพฤติกรรมเหล่านี้อาจต้องพึ่ง จิตเวชเด็ก             เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่คุณผู้ปกครองต้องให้ความสนใจเป็นอย่างมากในวัยของ เด็กเล็ก ที่กำลังจะเติบโตก้าวสู่รั้วโรงเรียนดังนั้นมาเช็คลูกพร้อมกับบทความ แม่และเด็ก กันเลยว่าลูกของคุณมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่อาจต้องพึ่ง จิตเวชเด็ก เพื่อการช่วยเหลือทางด้านอารมณ์  3 สัญญาณเตือนดังนี้  เป็นปกติที่เด็กเล็กจะมีอาการซุกซน และอารมณ์ดีเมื่อได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ แต่ถ้าหากลูกของคุณมีการที่ซุกซนผิดปกติเช่น อยู่ไม่นิ่ง ไม่มีสมาธิ มักเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา นี่อาจเป็นอาการเริ่มต้นทางจิตเวชที่คุณไม่เคยละเลยเป็นอย่างยิ่ง อาการวิตกกังวลไม่ควรเกิดขึ้นกับเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 7-15 ปี เพราะเด็กๆเหล่านี้ควรจะมีความร่าเริงและมีพฤติกรรมที่สมวัย ดังนั้น หากลูกของคุณมีอาการวิตกกังวลเช่นไม่อยากไปโรงเรียน หรือไม่อยากทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น คุณควรหาสาเหตุและพูดคุยกับลูกด้วยวิธีที่นุ่มนวล เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาเหล่านี้ ในเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 7-15 ปีอาจมีความก้าวร้าวอยู่บ้างในเวลาที่ตนไม่พอใจ หรือต้องการสิ่งของ แต่ถ้าหากลูกของคุณมีความก้าวร้าวตั้งแต่ ดื้อ ตะโกนเสียงดังใส่ผู้ปกครอง กรี๊ด ไม่เชื่อฟัง […]

Read More
พัฒนาการเด็ก

พัฒนาการของเด็ก วิธีแก้ปัญหาลูกน้อยมีสมาธิสั้น หลุดโฟกัสได้ง่าย 

การ พัฒนาการของเด็ก เล็กที่ยังอยู่ในช่วงวัยของการเกิดพัฒนา มักจะแสดงปัญหาเฉพาะตัวออกมาค่อนข้างชัดเจน และในบรรดาปัญหากวนใจทั้งหมด อาการสมาธิสั้นก็พบได้บ่อยในเด็กที่เกิดมาพร้อมกับเทคโนโลยี ตรงนี้หากคุณแม่สังเกตเห็นจะต้องรีบปรับเปลี่ยนแนวทางการดูแลทันที แม่และเด็ก การเลี้ยงลูก พัฒนาการเด็ก เพราะช่วงแรกที่นิสัยยังไม่ฝังรากลึกมันแก้ได้ง่ายกว่า ระหว่างที่ช่วยลูกปรับพฤติกรรม คุณแม่และสมาชิกคนอื่นในครอบครัวควรปรับพฤติกรรมของตัวเองร่วมด้วย เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่สอดคล้องไปในทางเดียวกัน ฝึกให้ลูกทำกิจกรรมทีละอย่างเพื่อลดอาการสมาธิสั้นและช่วย พัฒนาการของเด็ก แม้ว่าผู้ใหญ่อย่างเราจะรู้สึกว่าการทำอะไรหลายอย่างพร้อมกันไม่ได้เป็นปัญหา แต่เด็กมีความอ่อนไหวกว่าเรามากนัก ทำให้เขามีปัญหาสมาธิสั้นได้ง่าย คุณแม่จึงต้องเริ่มจากการฝึกให้ลูกทำกิจกรรมได้ทีละอย่างเท่านั้น ต่อให้ดูเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือเป็นสิ่งที่คนในบ้านคุ้นชินก็ละเลยไม่ได้เด็ดขาด เช่น การทานอาหารพร้อมกับดูโทรทัศน์ เป็นต้น ต้องสอนให้เขารู้ว่าการทำทีละอย่างนั้นได้ประสิทธิภาพมากกว่าอย่างไร ใช้ความสงบช่วยบรรเทาอาการสมาธิสั้นของลูก อันที่จริงผู้ใหญ่อย่างเราก็มีปัญหาสมาธิสั้นด้วยเหมือนกัน แต่ด้วยวุฒิภาวะและประสบการณ์ใช้ชีวิตที่ยาวนานกว่า ทำให้การแก้ไขปัญหาต่างๆ พอผ่านไปได้ แต่มันไม่ใช่เรื่องดีที่จะปล่อยให้เด็กเป็นเช่นเดียวกัน วิธีหนึ่งที่ใช้ได้ผลดีคือกำหนดให้พวกเขามีเวลาแห่งความสงบ เวลาที่ไม่ต้องทำอะไรเลยนอกจากอยู่กับบรรยากาศรอบตัวที่เงียบ อย่างน้อยวันละ 5-10 นาที แบบนี้จะช่วยให้เด็กๆ จัดระเบียบความคิดได้ดีขึ้น ใช้เสียงเพลงเสริมสมองลดอาการสมาธิสั้น เชื่อว่าหลายคนน่าจะเคยได้ยินประโยชน์ของเสียงเพลงมาบ้าง เด็กที่มีสมาธิสั้นควรได้ฟังเพลงคลาสสิคหรือเพลงบรรเลงเป็นประจำ มันจะช่วยเพิ่มสมาธิและทำให้ระดับความเครียดลดน้อยลง อาจจะเปิดเบาๆ ในช่วงเช้าที่สมองกำลังเปิดรับทุกอย่าง หรือจะเลือกเป็นเพลงกล่อมนอนก็ได้เหมือนกัน นอกจากนี้ในจังหวะที่เด็กๆ มีอาการร้อนรนอย่างชัดเจน ก็ควรเปิดเพลงเพื่อลดความรุนแรงของสภาพจิตใจลงด้วย

Read More
Back To Top